Sign In
กฎเกณฑ์

​​​​​​​​ตราสารทุน

 

บสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (Warrant)


สรุปหลักเกณฑ์

 

    • บริษัทที่จะเสนอขายต้องเป็นบริษัทที่จัดตั้งตามกฎหมายไทยและมีคุณสมบัติตามเกณฑ์การอนุญาตเสนอขายหุ้น

    • ใบสำคัญแสดงสิทธิจะต้องมีรายละเอียดที่กำหนดในเรื่อง

      • ข้อกำห​​นดใบสำคัญแสดงสิทธิ
        • มีอายุแน่นอน ซึ่งต้องไม่เกิน 10 ปี

        • หุ้นรองรับเป็นหุ้นใหม่ของบริษัท

        • กำหนดราคาและอัตราการใช้สิทธิแน่นอน

        • มีระยะเวลาให้แสดงความจำนงใช้สิทธิครั้งสุดท้ายไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันใช้สิทธิ

      • จำนวนหุ้นรองรับไม่เกิน​​​​ 50% ของหุ้นที่จดทะเบียนชำระแล้ว

           จำนวนหุ้นที่รองรับ = หุ้นรองรับหุ้นกู้แปลงสภาพและใบสำคั​ญแสดงสิทธิ (เดิม + ครั้งนี้) ไม่รวม ESOP                                                                

                                                  หุ้นที่จดทะเบียนชำระแล้ว + หุ้นที่ขายควบใบสำคัญแสดงสิทธิครั้งนี้​

 

      • ​  ข้อกำหนดสิทธิต้องมี​รายการอย่างน้อยในเรื่อง
        • รายละเอียด อายุ ราคา อัตราและวิธีการใช้สิทธิ

        • เหตุ เงื่อนไข และกระบวนการในการแก้ไขเพิ่มเติมข้อกำหนดของ warrant

        • ค่าเสียหายกรณีบริษัทไม่สามารถจัดให้มีหุ้นรองรับ ซึ่งต้องไม่ต่ำกว่าส่วนต่างระหว่างราคาตลาดของหุ้น ณ วันที่ใช้สิทธิกับราคาใช้สิทธิ

        • มาตรการคุ้มครองผู้ถือ warrant ซึ่งอย่างน้อยต้องมีข้อผูกพันในเรื่อง

​​​กรณี Callable warrant

      • ​​​​​​​​กำหนดเหตุที่บริษัทจะสามารถเรียกให้ใช้สิทธิก่อนระยะเวลาที่กำหนดอย่างชัดเจน และไม่อยู่ในอำนาจควบคุมของบุคคลใด ๆ

      • บริษัทต้องเรียกให้ใช้สิทธิเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่กำหนดไว้

      • มีมาตรการให้ผู้ลงทุนในทอดต่อไปทราบเงื่อนไขดังกล่าว

 

เหตุและเงื่อนไขการปรับสิทธิ

        • ​​​​​​มีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นของบริษัท อันเป็นผลมาจากการรวมหุ้นหรือแบ่งแยกหุ้น

        • มีการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่/หุ้นกู้แปลงสภาพ/ใบสำคัญแสดงสิทธิในราคาต่ำ

        • มีการจ่ายปันผลเป็นหุ้นออกใหม่/จ่ายปันผลเป็นเงินเกินอัตราที่ระบุในข้อกำหนดสิทธิ (พิจารณานโยบายการจ่ายปันผลของบริษัทด้วย)

        • กรณีอื่นใดที่ทำให้ผลประโยชน์ของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิด้อยไปกว่าเดิม

    • มีมาตรการคุ้มครอง/รักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น
      •  หนังสือนัดประชุมต้องแ​สดงข้อมูลอย่างน้อยในเรื่อง
        • ราคาหรืออัตราการใช้สิทธิ/ระยะเวลาการใช้สิทธิ วันสิ้นสุดการใช้สิทธิ วิธีการจัดสรร

        • Dilution effect ทั้ง price dilution และ control dilution

      • มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้ออกหุ้นรองรับอย่างเพียงพอ ซึ่งมีอายุไม่เกิน 1 ปี

      • กรณีบริษัทจดทะเบียนจะเสนอขายหุ้นราคาต่ำ ให้เฉพาะบุคคลที่กำหนด (PO placement) ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์หุ้นราคาต่ำเพิ่มเติมเช่น ระยะเวลาในการส่งหนังสือนัดประชุม หรือรายละเอียดของหนังสือนัดประชุมด้วย

 

    • เกณฑ์ใช้บังคับ​กั​บบริษัทจดทะเบียนและบริษัทมหาชนจำกัดที่มีหน้าที่ตามมาตรา 56 แห่ง พ.ร.บ.
      หลักทรัพย์ฯ

    • ไม่ต้องขออนุญาต​และไม่ต้องยื่น filing แต่ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขอนุญาต ได้แก่

      • ลักษณะของใบสำคัญแสดงสิทธิ

      • มีมาตรการคุ้มครอง/รักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น (ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์หุ้นราคาต่ำ)

      • มติผู้ถือหุ้นมีอายุไม่เกิน 1 ปี
        ทั้งนี้ เงื่อนไขดังกล่าวมีข้อกำหนดเหมือนกรณี PO warrant

    • ส่งแบบสอบทาน (c​hecklist) ให้ ก.ล.ต. พร้อมรายงานผลการขายภายใน 15 วัน

 

    • ลักษณะการเสนอขาย เข้าข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
      • มูลค่าเสนอขาย ≤ 20 ล้านบาท

      • ผู้ลงทุนรวมทุกรุ่น ≤ 50 ราย

      • ผู้ลงทุนสถาบัน

    • กรณีบริษัทจด​​ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (Listed Company) ทำตามเกณฑ์ PP (ทจ. 72/2558) อาจต้องยื่นคำขออนุญาตต่อ ก.ล.ต. หรือไม่ต้องยื่น (แล้วแต่การกำหนดราคา/ราคาต่ำหรือไม่) รวมทั้งปฏิบัติตามเงื่อนไข ดังนี้

      • จดข้อจำกัดการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิก่อนเสนอขาย

      • ลักษณะใบสำคัญแสดงสิทธิเช่นเดียวกับกรณีการเสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป ยกเว้นไม่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับระยะเวลาใช้สิทธิครั้งสุดท้าย และ callable warrant

      • หากการปรับสิทธิต้องทำตามเกณฑ์ที่กำหนด ข้อกำหนดสิทธิระบุค่าเสียหายและการเยียวยาหากจัดสรรหุ้นรองรับไม่ได้

      • เงื่อนไขการอนุญาต PP เช่น ห้ามโฆษณาเป็นการทั่วไป

      • ห้ามขายระยะเวลาและเปลี่ยนแปลงราคา

        ส่งแบบสอบทาน (checklist) ให้ ก.ล.ต. พร้อมรายงานผลการขายภายใน 15 วัน
    • กรณีบริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (Non-listed Company)
      • จดข้อจำกัดการโอนใบสำคัญแสดงสิทธิก่อนเสนอขาย

      • เงื่อนไขเพิ่มเติมตามที่กำหนด


กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง​

 

แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง​

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ฝ่ายจดทะเบียนตราสารทุน 1 – 2

โดยแบ่งตามหมวดธุรกิจของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ดังนี้

ท่องเที่ยวและสันทนาการ-วัสดุก่อสร้าง
โทรศัพท์ 0-2033-9619 / 0-2263-6124 / 0-2033-9590​ / 0-2263-6065

การแพทย์ – บรรจุภัณฑ์ - บริหารเฉพาะกิจ
โทรศัพท์ 0-2263-6110 / 0-2263-6234 / 0-2263-6248 / 0-2263-6535

ยานยนต์– แฟชั่น - พาณิชย์
โทรศัพท์ 0-2263-6112 / 0-2263-6303 /0-2263-6334 / 0-2263-6204

ธนาคาร - ธุรกิจการเงิน – ประกันภัยและประกันชีวิต
โทรศัพท์ 0-2263-6556 / 0-2263-6085 / 0-2033-9621

สื่อและสิ่งพิมพ์ – ของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์ – สินค้าอุปโภคบริโภค
โทรศัพท์ 0-2263-6093 / 0-2033-9949 / 0-2033-4671 / 0-2263-6277

ทรัพยากร – ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ – บริการเฉพาะกิจ
โทรศัพท์ 0-2033-9610 / 0-2033-9606 / 0-2033-9656 / 0-2263-6550

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
โทรศัพท์ 0-2263-6103 / 0-2033-9528 / 0-2263-6208  / 0-2263-6196

ไฟฟ้า - เหล็กและผลิตภัณฑ์โลหะ
โทรศัพท์ 0-2033-9976 / 0-2033-9923 / 0-2263-6102 / 0-2033-4636

อาหารและเครื่องดื่ม – ธุรกิจการเกษตร
โทรศัพท์ 0-2033-9628 / 0-2263-6066 /0-2033-4657 / 0-2033-9604

ขนส่งและโลจิสติกส์ – วัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร  
โทรศัพท์ 0-2033-9605 /0-2033-4622 / 0-2033-9821 / 0-2263-6367 / 0-2033-9568

ของใช้ในครัวเรือนและสำนักงาน – บริการรับเหมาก่อสร้าง
โทรศัพท์ 0-2263-6111 / 0-2263-6512  / 0-2263-6214  / 0-2033-9947

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
โทรศัพท์ 0-2263- 6514 / 0-2263-6232 / 0-2033-9520 / 0-2033-4610

กรณีสอบถามเกี่ยวกับระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารบริษัทจดทะเบียนและบริษัทที่ออกหลักทรัพย์
โทรศัพท์ 0-2263-6113

กรณีสอบถามเกี่ยวกับแบบ 56-1 One Report
โทรศัพท์  0-2263-6098 หรือ 0-2033-9618

สอบถามการส่ง online รายงานแบบ 59 และแบบ 246-2

โทร. 1207 ต่อ 3 ต่อ 1 หรือ email helpdesk@sec.or.th

การเสนอขายหุ้นของวิสาหกิจเพื่อสังคม (SE)

โทรศัพท์ 0-2263 6254

กรณีไม่ระบุชื่อบริษัท

โทรศัพท์ 0-2263-6120 / 0-2033-9908 / 0-2033-4644 / 0-2263-6120

อีเมล corporat@sec.or.th

 

​